วันเสาร์ที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

วันจันทร์ ที่ 10 ตุลาคม 2559

 (เวลา 08.30-11.30)

นื้อหาที่เรียน 
การเขียนโครงการให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย


ส่วนประกอบการเขียนโครงการ มีดังนี้

1. ชื่อโครงการ การตั้งชื่อโครงการตองมีความชัดเจน เหมาะสม และเฉพาะเจาะจง เปนที่เขาใจได โดยงายสําหรับผูนําโครงการไปใชหรือผูมีสวนเกี่ยวของกับโครงการชื่อโครงการจะบอกใหทราบวา จะทําสิ่งใดบาง โครงการที่จัดทําขึ้นนั้นทําเพื่ออะไรชื่อโครงการโดยทั่วไปควรจะตองแสดงลักษณะ งานที่ตองปฏิบัติลักษณะเฉพาะของโครงการ และจุดมุงหมายของโครงการ 

2. วัตถุประสงคและเปาหมาย โครงการทุกโครงการจําเปนตองมีวัตถุประสงคและเปาหมายเปนเครื่องชี้แนวทางในการ ดําเนินงานของโครงการ โดยวัตถุประสงคจะเปนขอความที่แสดงถึงความตองการที่จะกระทําสิ่ง ตางๆ ภายในโครงการใหปรากฏผลเปนรูปธรรม ซึ่งขอความที่ใชเขียนวัตถุประสงคจะตองชัดเจน ไมคลุมเครือ สามารถวัดและประเมินผลไดโครงการแตละโครงการสามารถมีวัตถุประสงคได มากกวา 1 ขอ 

3. เนื้อหา / หลักสูตร  เป็นเนื้อหาการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการจัดกิจกรรม ความรู้ต่างๆที่จะให้ผู้ปกครองได้รับ อาจเป็นความรู้ที่สามารถอ้างอิงได้ 

4. เป้าหมาย มี 2 แบบ 

-เชิงปริมาณ เช่น ผู้ปกครองของนักเรียนชั้นอนุบาล 3 อายุ 3-5 ปี โรงเรียนวัดพิกุลเงิน จำนวน 20 คน
-เชิงคุณภาพ เช่น ผู้ปกครองร้อยละ 80 เปอร์เซ็นต์ สามารถเล่านิทานได้ 

5. วัน เวลาและสถานที่จัดสัมมนา  ระยะเวลาในการดําเนินงานโครงการ เปนการระบุระยะเวลาตั้งแตเริ่มตนโครงการ จนกระทั่งถึงเวลาสิ้นสุดโครงการวาใชเวลาทั้งหมดเทาใด โดยแสดงใหเห็นจุดเริ่มตนและสิ้นสุด ของโครงการโดยระบุวันเดือน ปที่เริ่มทําและสิ้นสุด ถาหากเปนโครงการระยะยาว และมีหลาย ระยะก็ตองแสดงชวงเวลาในแตละระยะของโครงการนั้นดวยเพื่อใชเปนรายละเอียดประกอบการ พิจารณาอนุมัติโครงการ
                     เช่น วันจันทร์ ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เวลา 09.00 - 17.00 น. ณ โรงเรียนวัดพิกุลเงิน

6. รูปแบบการจัดโครงการ  เช่น การบรรยาย  การอภิปราย เกมส์ 

7. แผนการดำเนินงาน   เปนขั้นตอนตามลําดับกอนหลังเพื่อใช ปฏิบัติใหบรรลุตามวัตถุประสงคของโครงการ วิธีการดําเนินการจึงนําวัตถุประสงคมาจําแนกแจก แจงเปนกิจกรรมยอยหลายกิจกรรม โดยจะแสดงใหเห็นอยางชัดเจนตั้งแตตนจนจบกระบวนการ วามีกิจกรรมใดที่จะตองทําเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคซึ่งกิจกรรมตางๆ เหลานี้จะนําไปอธิบายโดย ละเอียดในสวนของแผนการปฏิบัติงานหรือปฏิทินปฏิบัติงานอีกครั้งหนึ่ง 
แบ่งเป็น 3 หัวข้อย่อย 
 การเตรียมงาม (P)
 การดำเนินงาน (D)
 การนิเทศติดตามผล  (C)
 การสรุปและประเมินผล  (A)

8. งบประมาณ  แบ่งออกเป็น  ค่าตอบแทน / ค่าใช้สอย / ค่าวัสดุอุปกรณ์

9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ   ผลหวังว่าที่จะเกิดขึ้นหลังจากทำโครงการ ซึ่งจะสอดคล้องกับวัตถุประสงค์

10. การติดตามและประเมินโครงการ ในสวนนี้จะแสดงถึงการติดตาม การควบคุม การกํากับ และการประเมินผลโครงการ เพื่อใหโครงการบรรลุถึงวัตถุประสงคที่ไดกําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ ผูเสนอโครงการควรระบุ วิธีการที่ใชในการควบคุม และประเมินผลโครงการไวใหชัดเจน ทั้งนี้อาจจะตองระบุบุคคลหรือ หนวยงานที่รับผิดชอบในการประเมินโครงการ พรอมทั้งบอกรูปแบบการประเมินผลโครงการ 

11. ผู้รับผิดชอบโครงการ   

ตัวอย่างโครงการให้การศึกษาแก่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย



การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
การทำโครงการให้ความรู้ผู้ปกครอง เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญ ที่ครูต้องจัดขึ้น การเขียนโครงการครั้งนี้จึงได้ความรู้แนวทางที่จะสามารถนำไปเขียนโครงการได้ถูกต้อง รวมทั้งการคิดจัดกิจกรรมในโครงการที่ต้องใช้เทคนิคต่างๆ


การประเมิน
ประเมินตนเอง 100%
ประเมินเพื่อน 100%
ประเมินอาจารย์ 100%

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น